Page 5 - MU_1Jan60
P. 5

{ Special Scoop



           ศ.เกียรติคุณ นพ.ประเวศ วะสี

           แสดงปาฐกถาพิเศษในงานครบรอบ ๔๗ ปี
           วันคล้ายวันสถาปนา คณะสังคมศาสตร์             ม.มหิดล ร่วมกับ สกว. เพชรดา ฐิติยาภรณ์
           และมนุษยศาสตร์ ม.มหิดล                       เปิดตัวหนังสือ“จริยธรรมในวิชาชีพ”
            งานประชาสัมพันธ์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
















             เมื่อวันที่ ๑๔ ธันวาคม ๒๕๕๙ คณะสังคมศาสตร์
           และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดงานครบ
           รอบ ๔๗ ปี วันคล้ายวันสถาปนาฯ โดย ศาสตราจารย์
           เกียรติคุณ นายแพทย์ประเวศ วะสี กรรมการสภา
           มหาวิทยาลัยมหิดล แสดงปาฐกถาพิเศษ เรื่อง
           “สังคมศาสตร์ใหม่กับการเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อ     เมื่อวันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๕๙ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับ ส�านักงานกองทุน
           สังคม” โดยกล่าวว่าเมื่อ คณะสังคมศาสตร์และ    สนับสนุนการวิจัย (สกว.) จัดงานเสวนาเปิดตัวหนังสือชุด “จริยธรรมใน
           มนุษยศาสตร์ เกิดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ก็เกิด    วิชาชีพ” โดยได้รับเกียรติจาก ศ.เกียรติคุณ นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี
           มหาวิทยาลัยมหิดล การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ ระหว่าง  และนายกสภามหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ศ.คลินิก นพ.อุดม คชินทร
           มนุษย์กับมนุษย์ และมนุษย์กับธรรมชาติแวดล้อม ที่  อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล และ ศ.นพ.สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ    ผู้อ�านวย
           เรียกว่าสังคมสันติสุขนั้นเป็นสิ่งสูงสุดของความเป็น  การ สกว. มาเป็นประธานเปิดงาน ณ โรงแรมเดอะสุโกศล กรุงเทพฯ
           มนุษย์ สังคมศาสตร์เป็นศาสตร์สูงสุดเพื่อการอยู่ร่วม
           กันอย่างสันติหรือเป็นศาสตร์เพื่อสังคมสันติสุข   งานดังกล่าวจัดขึ้น เพื่อเผยแพร่หนังสือจากโครงการวิจัยเรื่องจริยธรรมใน
           ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม  วิชาชีพต่างๆ รวม ๑๑ โครงการ ประกอบด้วย จริยธรรมในวิชาชีพกฎหมาย
           น�าไปสู่การพัฒนาแบบแยกส่วน  จนเกิดความ               นักธุรกิจ ทหาร นักการเมือง ข้าราชการ ต�ารวจ แพทย์ พยาบาล สื่อมวลชน
           ขัดแย้งและมีการแก้ปัญหาเหมือนตาบอดคล�าช้าง   ครู และอาจารย์มหาวิทยาลัย จัดพิมพ์โดยส�านักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล
           สังคมศาสตร์ใหม่คือการคิดและท�าอย่างบูรณาการ   (Mahidol University Press)
           น�าไปสู่การอยู่ร่วมกันอย่างสมดุล ประเทศไทยมีการ  โครงการวิจัยเรื่องจริยธรรมในวิชาชีพ เริ่มด�าเนินการระหว่างปี พ.ศ.
           พัฒนาอย่างสมดุลมากขึ้นเรื่อยๆ มีการเรียนรู้ร่วมกัน  ๒๕๓๓ – ๒๕๕๖ โดยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สกว. มี รศ.ดร.วริยา
           ในการปฏิบัติในสถานการณ์จริง มีปราชญ์ชาวบ้านซึ่ง  ชินวรรโณ จากคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
           เป็นภูมิปัญญาระดับบุคคลสร้างเครือข่ายระดับ   เป็นหัวหน้าโครงการ ด�าเนินการภายใต้วัตถุประสงค์ ๔ ข้อคือ ๑. ศึกษา
           องค์กรและสังคม ร่วมกันพัฒนาอย่างบูรณาการ ขณะ  พัฒนาการของหลักจริยธรรมในวิชาชีพต่างๆ ทั้ง ๑๑ วิชาชีพตั้งแต่อดีตถึง
           นี้คนไทยคิดเรื่องเดียวกันคือคิดถึงพระบาทสมเด็จ  ปัจจุบัน ๒. ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาทางจริยธรรมในแต่ละวิชาชีพว่ามีลักษณะ
           พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ซึ่งตลอดเวลาการ  อย่างไร ตลอดจนผลกระทบของปัญหาเหล่านั้นต่อสังคมไทย ๓. วิเคราะห์
           ครองราชย์ ๗๐ ปี พระองค์ทรงสัมผัสปัญหาชาวบ้าน  กลไกความประพฤติเบี่ยงเบนจากจริยธรรมของบุคคลในวิชาชีพ ๔. เสนอ
           ในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ทรงเข้าใจการพัฒนาอย่าง   แนวทางแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวกับจริยธรรมในวิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรม
           บูรณาการและการพัฒนาอย่างสมดุล โดยเฉพาะค�า
           สอนเรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีคนน�าไป  ผู้สนใจหนังสือชุด “จริยธรรมในวิชาชีพ” สามารถติดต่อสั่งซื้อได้ที่ ส�านัก
           ปฏิบัติและได้ผลจริง  มีการขยายตัวไปเรื่อยๆ   พิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล อาคารหอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
           ประเทศไทยคือประเทศที่มีภูมิปัญญาการพัฒนา     ชั้น ๒ ๒๕/๒๕ ถ.พุทธมณฑลสาย ๔ ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม
           อย่างสมดุลที่มากที่สุดในโลก  mahidol         ๗๓๑๗๐ โทร. ๐-๒๘๐๐-๒๖๘๐-๙ ต่อ ๔๓๐๒ หรือ E-mail: mupress@
                                                        mahidol.ac.th  mahidol

     4
         Volumn 01 • January 2017
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10