Page 5 - MU_2Feb60
P. 5

นักวิจัย ม.มหิดลได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ



                                                                                                รางวัลผลงานวิจัย รางวัลวิทยานิพนธ์ รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น




         ศาสตราจารย์ ดร.โกวิท พัฒนาปัญญาสัตย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติเป็น  และรางวัล TWAS จากสภาวิจัยแห่งชาติ (วช.)
         นักวิจัยที่ได้อุทิศตนเพื่องานวิจัยอย่างต่อเนื่องเป็นผลงานวิจัยที่ท�าสั่งสมไม่น้อยกว่า ๕ ปี มีผลงานวิจัยที่ดีเด่น ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการ
         วิชาการและการพัฒนาประเทศ ในสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์

            เมื่อวันที่  ๒  กุมภาพันธ์  ๒๕๖๐
          ศาสตราจารย์คลินิก  นายแพทย์อุดม
          คชินทร อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล มอบ
          ช่อดอกไม้แสดงความยินดีแก่บุคลากรของ
          มหาวิทยาลัยมหิดลที่ได้รับรางวัลสภาวิจัย
          แห่งชาติ: รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รางวัล
          ผลงานวิจัย รางวัลวิทยานิพนธ์ ประจ�าปี
          ๒๕๕๙ และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น
          ประจ�าปี ๒๕๖๐ และ รางวัล 2016 TWAS
          Prize for Young Scientist in Thailand
          (Mathematics Field) จากส�านักงานคณะ
          กรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยเข้ารับจาก
          พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง รองนายก
          รัฐมนตรี ประธานในพิธี ณ ศูนย์นิทรรศการ
          และการประชุมไบเทคบางนา กรุงเทพฯ
              ส�าหรับในปี  ๒๕๕๙  มีนักวิจัยของ
          มหาวิทยาลัยมหิดลที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดี
          เด่นแห่งชาติ รางวัลผลงานวิจัย รางวัล
          วิทยานิพนธ์ ประจ�าปี ๒๕๕๙ และรางวัลผล
          งานประดิษฐ์คิดค้น  และรางวัล 2016 TWAS   วิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช ได้แก่ ผลงาน  รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ส�าเร็จการ
          Prize for Young Scientist in Thailand   วิจัย เรื่อง “ซีรีน ไฮดรอกซีเมธิลทรานเฟอร์เรส  ศึกษาจาก University of Sheffield สหราช
          (Mathematics Field) ประจ�าปี ๒๕๖๐  ดังนี้  เป้าหมายยาใหม่ส�าหรับโรคมาลาเรีย” โดยมี  อาณาจักร

            รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ  มอบให้  ศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ใจ ใจเย็น คณะ
                                                                                    - รางวัลวิทยานิพนธ์ระดับดีมาก สาขา
          แก่นักวิจัยที่อุทิศตนเพื่องานวิจัยอย่างต่อ  วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผู้ร่วม  เกษตรศาสตร์และชีววิทยา  ได้แก่
          เนื่อง ที่ท�าสั่งสมไม่น้อยกว่า ๕ ปี และมีผล  วิจัย                     วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การศึกษาหน้าที่ของ
          งานวิจัยที่ดีเด่นก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ        รางวัลวิทยานิพนธ์  มอบให้แก่  aƒsA ที่ควบคุมการสร้างสารทุติยภูมิในเชื้อ
          วงการวิชาการและการพัฒนาประเทศ โดย   วิทยานิพนธ์ของการศึกษาในหลักสูตรระดับ  Streptomyces SJE177 และการค้นพบสาร
          ศาสตราจารย์ ดร.โกวิท พัฒนาปัญญา     ปริญญาเอกของสถาบันการศึกษาระดับ    ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากเชื้อ actinomy-
          สัตย์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล    อุดมศึกษา ซึ่งตีพิมพ์เป็นรูปเล่ม และได้รับ  cetes ที่คัดแยกจากดิน” โดย ดร.จิรายุส
          มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับรางวัลในสาขา  การอนุมัติจากสถาบันการศึกษาแล้วย้อน  เอื้อนรเศรษฐ์  คณะวิทยาศาสตร์
          วิทยาศาสตร์การแพทย์                 หลังไม่เกิน ๕ ปี  เป็นวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพ  มหาวิทยาลัยมหิดล ส�าเร็จการศึกษาจาก

            รางวัลผลงานวิจัย มอบให้แก่ผลงานวิจัย  ใช้วิธีการวิเคราะห์ หรือสังเคราะห์ที่เหมาะสม   มหาวิทยาลัยมหิดล
          ที่มีคุณภาพโดยใช้วิธีการวิเคราะห์หรือ  มีความชัดเจน มีประสิทธิผล และเป็นผลงาน
                                                                                    - รางวัลวิทยานิพนธ์ระดับดี สาขา
          สังเคราะห์ที่เหมาะสม  มีความชัดเจน  มี  ที่เสร็จสมบูรณ์แล้ว            เกษตรศาสตร์และชีววิทยา  ได้แก่
          ประสิทธิผลและเป็นผลงานวิจัยที่เสร็จ   - รางวัลวิทยานิพนธ์ระดับดีมาก สาขา  วิทยานิพนธ์ เรื่อง “การทดสอบศักยภาพของ
          สมบูรณ์แล้ว โดยผลงานวิจัยต้องไม่เป็น  วิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้แก่ วิทยานิพนธ์  โปรตีน Saposin-Like Protein 2 ในการ
          วิทยานิพนธ์ที่เป็นส่วนหนึ่งของการรับ  เรื่อง “เซลล์ชวานน์และเซลล์ต้นก�าเนิดจาก  พัฒนาเป็นวัคซีนและวิธีการวินิจฉัยการติด
          ปริญญาและต้องเป็นประโยชน์ต่อประเทศ  เนื้อเยื่อไขมัน ส�าหรับการซ่อมแซมระบบ
                                                                                 โรคพยาธิใบไม้ตับ Fasciola gigantica” โดย
          ชาติ                                ประสาทส่วนปลาย” โดย ดร.รสสุคนธ์      ผศ.ดร.พรอนันต์ เกื้อไข่ คณะวิทยาศาสตร์
            - รางวัลผลงานวิจัยระดับดีมาก สาขา  แก้วขาว คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล    มหาวิทยาลัยมหิดล ส�าเร็จการศึกษาจาก
     4
         Volumn 02 • February 2017
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10