Page 24 - MU_8Aug60
P. 24

{ สมุนไพรน่ารู้
             อ.นพ.คมสันต์ เกียรติรุ่งฤทธิ์ สาขาจิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น
             ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
             มหาวิทยาลัยมหิดล






















                                                            “โรคดึงผม”





                                                                       โรคทางจิตเวช


                                                                   ที่คนเป็นอาจไม่รู้ตัว




                  ปัจจุบันสภาพคนในสังคมมีความ  สามารถพบได้ในทุกเพศและทุกวัย ใน ตระหนักรู้ตัวถึงการดึงผมของตน โดย
               เครียดเพิ่มมากขึ้น ด้วยปัจจัยหลาย วัยเด็กอาจจะไม่รุนแรงและค่อยๆ  เฉพาะในกรณีที่ดึงโดยไม่รู้ตัวอยู่บ่อยๆ
               อย่างที่ส่งผลต่อสภาวะจิตใจ ท�าให้มี รุนแรงขึ้นเมื่ออยู่ในช่วงวัยรุ่น ส�าหรับ เพื่อให้ผู้ป่วยควบคุมพฤติกรรมของตัว
               อาการทางจิตเวชโดยไม่รู้ตัว วันนี้เราจะ วัยผู้ใหญ่มักมีอาการเรื้อรังยาวนานแต่ เอง แต่อย่าใช้วิธีการดุว่าหรือต�าหนิ
               มาพูดกันถึงเรื่องของ “โรคดึงผม” ที่ เพิ่งมารักษา  และจะรักษาได้ไม่ดี แรงๆ ให้ใช้วิธีเตือนให้เหมาะสม เพราะ
               หลายคนอาจไม่รู้ว่านี่ก็เป็นอีกหนึ่ง เท่ากับวัยเด็กและวัยรุ่น บางกรณีมีการ ถ้าหากใช้อารมณ์ในการต�าหนิ ผู้ป่วย
               อาการทางจิตเวชที่ต้องได้รับการรักษา  รับประทานเส้นผมเข้าไปด้วยก็จะส่ง อาจจะยิ่งดึงผมมากขึ้นก็ได้
               เนื่องจากโรคดังกล่าวส่งผลกระทบต่อ ผลให้มีการสะสมในล�าไส้ เกิดการอุด  วิธีการรักษาให้ผู้ป่วยหรือคน
               บุคลิกภาพและสภาวะจิตใจ         ตันและส่งผลเสียต่อสุขภาพ ปัญหา  รอบข้างลองสังเกตพฤติกรรมก่อน
                  โรคดึงผม อาจเกิดขึ้นโดยรู้ตัวหรือ  โดยหลักที่เกิดจากการดึงผมคือ   ว่าเวลาดึงผม ผู้ที่เป็นมักดึงผมตัวเอง
               ไม่รู้ตัว โดยส่วนมากพบว่าผู้ป่วยมักมี  เสียบุคลิกภาพ ทั้งพฤติกรรมที่เป็น  เวลาไหน เวลาเหงา เศร้า เบื่อ หรือ
               อาการร่วมกันทั้งสองแบบ ซึ่งอาจจะ  อยู่ และจากปัญหาศีรษะล้าน   เครียด  เป็นต้น  หรือชอบดึงผมใน
               รู้ตัวมากกว่าไม่รู้ตัวหรือไม่รู้ตัวมากกว่า  ปัจจัยที่ท�าให้เป็นโรคดึงผม  สถานการณ์ใด เช่น ขณะนั่งดูโทรทัศน์
               รู้ตัว แล้วแต่กรณีไป โดยการกระท�า ได้แก่ การมีโรคทางจิตเวชซึ่งเป็น ขณะนอนอยู่ในห้อง เป็นต้น เมื่อผู้ป่วย
               ขณะที่รู้ตัวผู้ป่วยอาจจะรู้สึกไม่สบาย ความผิดปกติของสารเคมีในสมอง รู้ตัวแล้วก็จะควบคุมตัวเองได้ง่าย
               หนังศีรษะ คัน หรือรู้สึกยุกยิกๆ รวมไป เช่น โรควิตกกังวล โรคย�้าคิดย�้าท�า  ขึ้น ส�าหรับการรักษานอกเหนือจาก
               ถึงรู้สึกว่าเส้นผมไม่ตรงไม่เรียบท�าให้ สมาธิสั้น หรือการเป็นโรคซึมเศร้า  นี้ก็คือ การให้ยา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
               อยากดึงออก เมื่อดึงออกแล้วจะรู้สึก รวมถึงพันธุกรรมก็เป็นปัจจัยหนึ่ง ผู้ที่มีโรคทางจิตเวชอื่นๆ ร่วมด้วย ดังนั้น
               สบายใจขึ้น รู้สึกโล่งขึ้น ขณะที่การดึง โดยอาจมีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรค หากญาติหรือผู้ป่วยสังเกตว่าคนใกล้
               ผมโดยไม่รู้ตัว มักจะดึงระหว่างท�ากิจ ดึงผมเหมือนกัน  นอกจากนี้ ชิดหรือตนเองมีพฤติกรรมดังกล่าว การ
               กรรมอื่นๆ อยู่ เช่น ชมโทรทัศน์ อ่าน ความเครียดต่างๆ ในชีวิตประจ�าวันเช่น  พยายามท�าความเข้าใจผู้ป่วยให้การ
               หนังสือ ท�างาน เป็นต้น เป็นการกระท�า ปัญหาการเรียน การท�างาน ความ ช่วยเหลือเบื้องต้นเป็นสิ่งจ�าเป็น และ
               แบบเผลอที่ไม่รู้ตัวและไม่ได้ตั้งใจ  สัมพันธ์กับผู้อื่นอาจเป็นปัจจัยกระตุ้น หากไม่ดีขึ้นการไปปรึกษาจิตแพทย์
                  ส�าหรับอาการดึงผมปัจจุบันพบผู้  ให้เกิดโรคได้  วิธีการปรับเปลี่ยน ก็เป็นทางออกและแก้ไขพฤติกรรม
               ป่วยในอัตราร้อยละ ๔ ของคนทั่วไป   พฤติกรรมก่อนอื่นต้องให้ผู้ป่วย นี้ได้้  mahidol



   24
         Volumn 08 • August 2017
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28