ดนตรีบำบัด พลังแห่งเสียงกับสุขภาพจิตของวัยรุ่น

เผยแพร่แล้ว: 3 กันยายน 2566

การใช้ดนตรีและองค์ประกอบของดนตรี เช่น เสียง จังหวะ ทำนอง ฯลฯ มาใช้ในกระบวนการเพื่อส่งเสริมดูแลในบริบททางการแพทย์ ได้แก่ สุขภาพทางกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม การสื่อสาร สติปัญญา จิตวิญญาณ และคุณภาพชีวิตตามวัตถุประสงค์ของผู้เข้ารับการบำบัด โดยดนตรีบำบัดจะเป็นการทำงานในลักษณะสหวิชาชีพที่ใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์จากบุคลากรทางการแพทย์ร่วมกับนักดนตรีบำบัดเฉพาะทาง

มาร่วมหาคำตอบไปพร้อมกันกับทำนองดนตรีที่มีความหมายมากกว่าแค่ความไพเราะกันเถอะ !


ขอขอบคุณ

  • พญ. วิมลรัตน์ วันเพ็ญ
    ผู้อำนวยการสถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต
    กระทรวงสาธารณสุข
  • ดร. ณรงค์ ปรางค์เจริญ
    คณบดีวิทยาลัยดุริยางคศิลป์
    มหาวิทยาลัยมหิดล
  • อาจารย์กฤษดา หุ่นเจริญ
    อาจารย์ประจำสาขาวิชาดนตรีบำบัด
    วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

จำนวนผู้เข้าชม: 4,474 ครั้ง

Related Posts

2 กรกฎาคม 2568

มหิดลจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “Mahidol Change Agent #1”

มหิดลส่งต่อผู้นำที่มีอิทธิพลโดดเด่น 55 คน เพื่อพัฒนาสังคมไปสู่การเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ ตามแนวทาง SDGs

Featured Article

2 กรกฎาคม 2568

มหิดลจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ “Mahidol Change Agent #1”

มหิดลส่งต่อผู้นำที่มีอิทธิพลโดดเด่น 55 คน เพื่อพัฒนาสังคมไปสู่การเปลี่ยนแปลงในทุกมิติ ตามแนวทาง SDGs

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า
Scroll to Top
Scroll to Top