Page 25 - MU_11Nov62.pdf
P. 25
ศิษย์สัมพันธ์
ข้อคิดดีๆจากโครงการ ๕๐ ศิษย์เก่าดีเด่น
๕๐ ปีวันพระราชทานนาม ๑๓๑ ปีมหาวิทยาลัยมหิดล
ความผูกพันและ True Success ของศิษย์เก่า จากบริษัทหรือสถานการณ์เชิงธุรกิจบางอย่าง จึงเอาไปประยุกต์
มหาวิทยาลัยมหิดลจากวิทยาลัยการจัดการ ใช้ได้จริง ถ้าถามเรื่องความผูกพัน ผมยอมรับว่าผูกพันมาก ตัวผม
เองกับเพื่อนที่เรียนมาด้วยกันก็ยังสนิทกันอยู่ ธุรกิจหลายๆ ตัวก็ร่วม
ในมหิดลสารฉบับนี้ หน่วยศิษย์สัมพันธ์ กองกิจการนักศึกษา ท�ากับเพื่อนที่เรียนจบมาด้วยกัน ถ้าเป็นด้านความส�าเร็จที่แท้จริง
ขอน�าเสนอบทสัมภาษณ์เรื่องความผูกพันและ True Success จาก ขอยกตัวอย่างที่ใกล้ตัวที่สุดก็แล้วกัน ผมเองตั้งแต่เรียนจบมาไม่กี่ปีก็ได้
ศิษย์เก่าที่มาร่วมงาน CMMU CONNECT ๒๐๑๙ โดย สมาคม ท�างานเป็นกรรมการของสมาคมศิษย์เก่าวิทยาลัยการจัดการ เราก็มี
ศิษย์เก่าวิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับวิทยาลัย โครงการเยอะมาก ช่วงแรกๆ ก็เริ่มท�าอยู่แค่ส่วนงานเดียว แต่หลังๆ
การจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อแสดงความยินดีกับมหาบัณฑิต มาช่วงปีที่ ๙ - ๑๐ จะเห็นได้ชัดว่าเราเพิ่มการมีส่วนร่วมกับส่วนงาน
ใหม่ และเป็นการสานสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องระหว่างศิษย์เก่าและศิษย์ อื่นในมหาวิทยาลัยมหิดลมากขึ้น เราก็ได้ใช้สิ่งที่เราได้เรียนรู้มาจาก
ปัจจุบันทุกหลักสูตร เมื่อ วันเสาร์ที่ ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา วิทยาลัยคือการจัดการเพื่อท�าให้โครงการต่างๆ มีผลในระยะยาว
ณ โรงแรมโนโวเทล สุขุมวิท ๒๐ เช่น ถ้าเกิดมีโครงการเกี่ยวกับแพทย์อาสาในที่ไหนก็ตามแต่ เราจะมี
ความส�าเร็จที่แท้จริงของผม คือการน�าความร่วมมือ การติดตามงาน ฝากงานต่อเนื่องให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานด้านนั้นๆ
ทางการจัดการไปสู่ชุมชนชนบท ในที่ๆ เราไป เช่น อนามัย ส่วนงานจังหวัด หรือ โรงพยาบาลจังหวัด
ให้มีการติดตามงาน มีการจัดการอย่างเป็นระบบมากขึ้น ชาวบ้าน
ที่เราไปช่วยเหลือ ก็ได้การช่วยเหลือต่อเนื่องในระยะยาวอย่างเป็น
ระบบมากขึ้น ไม่ใช่ไปครั้งเดียวแล้วจบ”
ความส�าเร็จที่แท้จริงคือการน�าความรู้แนวทางในการ
บริหารจัดการเข้าไปมีส่วนร่วมกับทางสังคม
นายแพทย์ ธิบดี ชุณหเสนีย์ รุ่น ๑๑๑ (วิทยาลัยการจัดการ)
นายกสมาคมศิษย์เก่า วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล
“ผมคิดอยู่เสมอว่า เวลาเราเรียนจบจากที่ไหน ที่นั่นก็จะเป็นส่วน
หนึ่งของความส�าเร็จของเราในวันนี้ ซึ่งความส�าเร็จนั้นมาจากสิ่งที่
เราได้รับในเรื่องของการศึกษาและความรู้ที่สามารถเอาไปใช้ได้จริง
ผมจึงมีความผูกพันมาก ความส�าเร็จที่แท้จริงของผม เกิดจากการ ดร.เดวิด มกรพงศ์ รุ่น ๑๒๔ (วิทยาลัยการจัดการ) ศิษย์เก่า
ที่ผมเป็นหมอที่มาเรียนการจัดการ สิ่งหนึ่งที่ผมน�าไปใช้คือการน�า ดีเด่นมหาวิทยาลัยมหิดล เนื่องในโอกาส ๕๐ ปีวันพระราชทาน
ความร่วมมือทางการจัดการไปสู่ชุมชนชนบท เรามักจะมีโครงการดีๆ นาม ๑๓๑ ปี “ความผูกพันที่เกิดขึ้นของผมเกิดขึ้นในชั้นเรียน เพราะ
เสมอไม่ว่าจะในมุมของการให้ความรู้กับประชาชนในการท�า เราสามารถน�าความเห็นของเรามาแลกเปลี่ยนความคิดกับเพื่อนๆ ได้
ผลิตภัณฑ์โดยมีจุดหมายในการสอนชาวบ้านให้รู้จักใช้ความรู้ และเราก็สามารถขอค�าปรึกษาจากเหล่าคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยได้
ทางการจัดการในการท�างาน หรือตามวิชาชีพดั้งเดิมของผมด้วย เกิดการต่อยอดความผูกพันให้รู้สึกเป็นพี่เป็นน้องเป็นอาจารย์
ในการออกหน่วยการแพทย์เคลื่อนที่” หล่อหลอมให้เราเป็นเราได้ในทุกวันนี้ ความส�าเร็จที่แท้จริงคือการที่
ความส�าเร็จที่แท้จริง คือการจัดการเพื่อท�าให้โครงการ ผมได้น�าความรู้ แนวทางในการบริหารจัดการ เข้าไปมีส่วนร่วมกับ
ต่างๆ มีผลในระยะยาว ทางสังคมเกษตรกรรมผู้เลี้ยงโคนมแห่งประเทศไทย โดยเกษตรกร
ชุดแรก ผมได้น�าการเรียนการสอนที่ปรับปรุงจากแนวทางของ
ต่างประเทศและเข้ากับแนวทางในการพัฒนาของเขาได้ เอาไปปรับ
ใช้ร่วมกัน ปัจจุบันเกษตรกรเหล่านั้นสามารถผลิตนมที่มีคุณภาพ
ได้และสามารถแปรรูปนมที่มีคุณภาพยอดเยี่ยมไม่แพ้แบรนด์ดังๆ
ที่ขายในห้างสรรพสินค้าครับผม”
สติ๊กเกอร์ไลน์การกุศลเพื่อทุนการศึกษาจากสมาคมศิษย์เก่า
มหาวิทยาลัยมหิดล ในพระบรมราชูปถัมภ์
คุณ พงศ์เลิศ พงศ์เลิศนภากร รุ่น ๑๑๘ (วิทยาลัยการจัดการ)
กรรมการสมาคมศิษย์เก่า วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัย
มหิดล “การที่ได้มาเรียนที่นี่ วิชาที่ได้รับมาล�้ากว่าที่อื่นมาก และเอา
ไปใช้งานได้จริง เพราะเรียนด้วยการแก้ปัญหาจากเหตุการณ์จริงๆ
มหิดลสาร ๒๕๖๒ 25