Page 9 - MU_7July62
P. 9

Special Scoop
                                                                                                    ฐิติรัตน์ เดชพรหม




                  คณะศิลปศาสตร์ ม.มหิดล จัดประชุมวิชาการระดับชาติสาขามนุษยศาสตร์และ

                                            สังคมศาสตร์ ประจ�าปี ๒๕๖๒

                 เรื่อง “การศึกษาในยุคดิจิทัล : ความท้าทายของมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์”












                  เมื่อวันที่  ๑๐  มิถุนายน  ๒๕๖๒
               ศาสตราจารย์  นายแพทย์บรรจง
               มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดี
               มหาวิทยาลัยมหิดล  เป็นประธานเปิด
               การประชุมวิชาการระดับชาติสาขา
               มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจ�า
               ปี   ๒๕๖๒  เรื่อง  “การศึกษาในยุค
               ดิจิทัล: ความท้าทายของมนุษยศาสตร์
               และสังคมศาสตร์” (The 3rd National                                                     เปลี่ยนแปลงทางการเมือง เราจึงต้องมี College of Arts and Social Science,
               Conference on Education in the Digital                                 การเตรียมพร้อมอยู่เสมอ ๓.ปัจจัยด้าน National Taiwan University of Science
               Era: Challenges for Humanities and   ระบบเศรษฐกิจโลก (Economic system                                         and Technology, Republic of China
               Social Sciences) จัดโดย คณะศิลปศาสตร์   of any countries) ในยุคของโลกาภิวัตน์                                      (Taiwan) ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “Role of
               มหาวิทยาลัยมหิดล  โดยมี  ผู้ ช่ วย  ไม่มีประเทศใดสามารถอยู่ได้อย่าง                                                                      Thai Language in Korea: A Trend in
               ศาสตราจารย์ ดร.ธนายุส ธนธิติ คณบดี  โดดเดี่ยว  การเปลี่ยนแปลงทางด้าน the Digital Era บทบาทของภาษาไทย
               คณะศิลปศาสตร์ กล่าวรายงาน ณ อาคาร  เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในส่วนใดๆ  ในโลก  ในประเทศเกาหลี: แนวโน้มใน ยุคดิจิทัล”
               สิริวิทยา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย  ย่อมส่งผลกระทบไปยังประเทศอื่นๆ                            โดย Professor Dr. Jung Hwan-Seung
               มหิดล ศาลายา                   จึงเป็นประเด็นที่จะต้องเฝ้าพิจารณาด้วย  ศาสตราจารย์ประจ�าภาควิชาการล่ามและ
                  ศาสตราจารย์  นายแพทย์บรรจง   ๔.ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม  (Environ- การแปลภาษาไทย Hankuk University
               มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดี  ment) ซึ่งนอกจากเรื่องภาวะโลกร้อนแล้ว                    of Foreign Studies, Republic of Korea
               มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า การศึกษาและ  การใช้ social media อย่างไม่ระมัดระวัง  (South Korea) ภาคบ่ายเป็นการน�าเสนอ
               การวิจัย นับเป็นกุญแจส�าคัญในการพัฒนา  อาจสร้างความขัดแย้งให้เกิดขึ้นได้                                                                    ผลงาน Parallel session
               เศรษฐกิจ สังคม และประเทศไปสู่ความ  (Weaponization by social media)
               ยั่งยืน ปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทส�าคัญ  และ  ๕.ปัจจัยด้านนวัตกรรมหรือ
               ในการขับเคลื่อนสังคม ข้อมูลข่าวสาร                                                                         เทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรง
               ถูกส่งผ่านอย่างรวดเร็วและไร้ขีดจ�ากัด                     (Disruptive Technology) ซึ่งอาจกล่าวได้
               ดังนั้น การผสมผสานระหว่างความรู้ และ  ว่ามีการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นเป็น ๒ เท่า
               เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาการศึกษา และการวิจัย   ในทุกๆ ๒ ปี โดยพบว่าพฤติกรรมของ
               จึงเป็นสิ่งจ�าเป็นที่จะช่วยยกระดับคุณภาพ  คนในสังคมมีการเปลี่ยนไปตามการ
               การศึกษา และเป็นแรงผลักดันให้เกิด                           เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัล จึงเป็น
               นักวิจัยรุ่นใหม่ที่จะสร้างสรรค์ผลงานวิจัย  หน้าที่ของมหาวิทยาลัยที่จะต้องสร้างความ  การประชุมวิชาการครั้งนี้ นับเป็นโอกาส
               ที่มีคุณภาพต่อไป               เข้าใจ และเตรียมความพร้อมนักศึกษา อันดีที่คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และนัก
                  “กระบวนการเรียนรู้ในโลกยุคดิจิทัล                    และบุคลากรให้พร้อมรับกับปัจจัยทั้งหลาย วิจัย จะได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นการ
               ขึ้นอยู่กับ ๕ ปัจจัย คือ ๑.ปัจจัยด้านสังคม   เหล่านี้ด้วย”    สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ
               (Society) พบว่าประชากรมีอายุยืนยาว  นอกจากนี้ ในการประชุมวิชาการได้มี เกิดฐานข้อมูลวิจัย รวมทั้งเป็นประโยชน์
               มากขึ้น ในขณะที่นักศึกษาที่เข้าศึกษา                                                                             การจัดกิจกรรมที่น่าสนใจ อาทิ ปาฐกถา ต่อการน�าองค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์
               ในมหาวิ ทยาลัยมี จ� านวนน้อยลง                            พิเศษ เรื่อง “From Research to Promotion-         และสังคมศาสตร์ไปใช้ในการพัฒนา
               จึงต้องค�านึงถึงกลุ่มเป้าหมายที่สูงวัยด้วย                                                                   Mobile  Learning  Experiences  in                    ประเทศต่อไป
               ๒.  ปัจจัยด้านการเมือง  (Politics)   Taiwan” โดย Professor Dr. Gwo-Jen
               ซึ่งประเทศไทยก�าลังอยู่ในช่วงการ  Hwang, Chair Professor and Dean,



                                                                                               มหิดลสาร ๒๕๖๒       9
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14