Page 7 - MU_10Oct61
P. 7

Special Scoop
                                                                                                 ดร.ณภัศศรณ์ ปัญญาสุข



                                                               คณะวิทยาศาสตร์ ม.มหิดล

                                                  จัดบรรยายนักวิทย์โนเบล สาขาเคมี

                                                               ประจ�าปี ๒๕๔๘



                  เมื่อวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๖๑ คณะวิทยาศาสตร์  สาขาเคมี  ประจ�าปี  ๒๕๔๘  โดยในการบรรยายได้น�าเสนอ
               มหาวิทยาลัยมหิดล จัดบรรยาย เรื่อง “Selective Olefin  องค์ความรู้เรื่อง Olefin Metathesis ซึ่งถือเป็นปฏิกิริยาที่ส�าคัญมาก
               Metathesis Catalysts and Some Applications” โดย  ในด้านเคมีอินทรีย์ และเป็นงานวิจัยที่ท�าให้ ศาสตราจารย์ ดร.โรเบิร์ต
               ศาสตราจารย์ ดร. โรเบิร์ต กรับส์ (Professor Robert  กรับส์ ได้รับรางวัลโนเบล นอกจากนี้ยังเป็นการสร้างแรงบันดาลใจ
               Grubbs) นักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล สาขาเคมี ปี  ให้กับนักเรียน นักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่สนใจด้านวิทยาศาสตร์
               ๒๕๔๘ ณ ห้อง L-01 ตึกกลม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย  ภายในงาน รองศาสตราจารย์ ดร. ปราณี ภิญโญชีพ หัวหน้า
               มหิดล (พญาไท) ในโอกาสแห่งการครบรอบ ๖๐ ปี แห่งการ   ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้กล่าวรายงาน
               สถาปนาฯ                                     กิจกรรมปาฐกถา Nobel Laureate ซึ่งจัดขึ้นเพื่อเป็นเกียรติเนื่องใน
                   ศาสตราจารย์ ดร. โรเบิร์ต กรับส์ เป็นศาสตราจารย์  โอกาสฉลอง ๖๐ ปี แห่งการสถาปนา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
               ด้านเคมี จาก The California Institute of Technology  มหิดล และถือเป็นโอกาสพิเศษที่ส�าคัญอย่างยิ่งของคณะที่ได้ต้อนรับ
               ประเทศสหรัฐอเมริกา และเป็นหนึ่งในผู้ได้รับรางวัลโนเบล  ศาสตราจารย์ ดร.โรเบิร์ต กรับส์ นักวิทยาศาสตร์รางวัลโนเบล
                                                           สาขาเคมี ประจ�าปี ๒๕๔๘ ในการบรรยายครั้งนี้ ถือเป็นการน�าเสนอ
                                                           ผลงานวิจัยล่าสุดในเรื่อง “Olefin Metathesis” ที่ลงลึกในรายละเอียด
                                                           และช่วงเวลาของการถามตอบก็มีค�าถามที่หลากหลายจากทั้ง
                                                           คณาจารย์ นักศึกษา และจากผู้ประกอบการธุรกิจ ถือเป็นสร้าง
                                                           แรงบันดาลใจให้กับผู้เข้าฟังและเป็นการเปิดโอกาสใหม่ๆ ด้านการ
                                                           ศึกษาและการวิจัย การเชื่อมโยงจากงานวิจัยไปสู่การต่อยอด
                                                           เชิงพาณิชย์ อีกทั้งยังเป็นการเชื่อมโยงเครือข่ายด้านวิทยาศาสตร์
                                                           ให้มีความเจริญก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น โดยภายหลังปาฐกถา องค์ปาฐก
                                                           และคณะผู้จัดงานได้มีการให้สัมภาษณ์ กับสื่อมวลชนและถ่ายภาพ  7
                                                           ร่วมกัน  Mahidol

                              วงเสวนาวิชาการระดับชาติ ว่าด้วย หัวข้อ
                    “การสรรหาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
                                 แบบไหนที่เป็นที่ยอมรับ”

                   “แนวทางยับยั้งและป้องกันอาชญากรรมรุนแรงต่อเพื่อนมนุษย์:
                      พิจารณาบริบทความรุนแรง และความเป็นไปได้ในการน�า
                                  ใช้ปทัสถาน R2P ในไทย”



                                                                             มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์  ประเทศ
                                                                             ออสเตรเลีย การจัดกิจกรรมในครั้งนี้มี
                                                                             วัตถุประสงค์เพื่อสร้างพื้นที่ในการพูดคุย
                                                                             แลกเปลี่ยน ท�าความเข้าใจและถกเถียง
                                                                             เกี่ยวกับหลักความรับผิดชอบในการ
                  เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๖๑  ใช้ปทัสถาน R2P ในไทย” โดยมี ดร.เอก ปกป้องต่อพลเมืองของรัฐ (R2P) ประเด็น
               สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา  พันธุ์ ปิณฑวณิช ผู้อ�านวยการสถาบันสิทธิ ความเชื่อมโยงและข้อท้าทายต่างๆ
               มหาวิทยาลัยมหิดลร่วมกับ Asia Pacific  มนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัย ระหว่างปทัสถาน R2P ต่อประเด็นสิทธิ
               Center for Responsibility to Protect,  มหิดล กล่าวเปิดงาน ร่วมกับ ดร.ปราณี  มนุษยชนและความรุนแรงในประเทศไทย
               University of Queensland และภาควิชา ทิพย์รัตน์ ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่าง การแสดงหาความร่วมมือระหว่างภาคส่วน
               ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ  คณะ ประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ ต่างๆ ในการป้องกันยับยั้งอาชญากรรม
               รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดวง มหาวิทยาลัย และ Dr. Noel Morada           ความรุนแรงต่อเพื่อมนุษย์ในประเทศไทย
               เสวนาวิชาการระดับชาติ ว่าด้วย “แนวทาง ผู้อ�านวยการ (ระดับภูมิภาค) ศูนย์แห่งเอเชีย ณ โรงแรมอนันตรา สยาม กรุงเทพฯ  Mahidol
               ยับยั้งและป้องกันอาชญากรรมรุนแรง แปซิฟิกเพื่อหลักความรับผิดชอบในการ
               ต่อเพื่อนมนุษย์: พิจารณาบริบทความ ปกป้องโดยรัฐ    (Asia Pacific Centre for   น.ส.เขมิกา กลิ่นเกษร นักประชาสัมพันธ์
               รุนแรง และความเป็นไปได้ในการน�า the Responsibility to Protect – APR2P)    ภาพถ่ายโดยคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                                                                    มหิดลสาร ๒๕๖๑
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12