Page 11 - MU_12Dec61
P. 11
Information
งานประชาสัมพันธ์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เพิ่มบริการสายด่วนรถรักษาอัมพาตเคลื่อนที่ศิริราช
๐-๒๔๑๙-๘๘๘๘ ทุกวันตลอด ๒๔ ชั่วโมง
ถ้ามีอาการหน้าเบี้ยว อ่อนแรง ผู้เชี่ยวชาญโรคหลอดเลือดสมองเป็น โรคหลอดเลือดสมองตีบเฉียบพลัน
ครึ่งซีก พูดไม่ชัด โทรสายด่วนรถรักษา ผู้รับสายและซักถามอาการและตาม จะให้การรักษาด้วยการฉีดยาสลายลิ่ม
อัมพาตเคลื่อนที่ศิริราชโทร. ๐-๒๔๑๙- ทีมแพทย์พยาบาลนักรังสีการแพทย์ เลือด (rtPA) บนรถรักษาอัมพาต
๘๘๘๘ ทุกวันตลอด ๒๔ ชั่วโมง และพนักงานขับรถให้ออกปฏิบัติการ เคลื่อนที่ทันทีและส่งตัวผู้ป่วยเข้ารับ
เพิ่มเติมจากหมายเลขเดิมโทร. ๑๖๖๙ รับผู้ป่ วยเพื่อการรักษาในรถรักษา การรักษาต่อในโรงพยาบาล
อัมพาตเคลื่อนที่ศิริราช
ขั้นตอนการรับบริการ ๕. หากวินิจฉัยได้ว่าผู้ป่วยไม่เป็น
๓. ภายในรถพยาบาลฯ ผู้ป่ วย โรคหลอดเลือดสมองตั้งแต่ก่อนรับ
๑. เมื่อรับแจ้งทางศูนย์เอราวัณ จะได้รับการตรวจร่างกายโดยแพทย์ ขึ้นรถของหน่วยบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
จะคัดกรองแล้วแจ้งไปยังหน่วยบริการ ตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง (EMS) หรือรถรักษาอัมพาตเคลื่อน
การแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) ในเขตที่ดูแล และตรวจเลือดที่จ�าเป็น เพื่อการรักษา ที่ศิริราชมูลนิธิฯ จะน�าตัวผู้ป่ วย
เพื่อให้เข้าไปรับผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ เบื้องต้น จากนั้นระบบจะส่งต่อข้อมูล ส่งโรงพยาบาลต้นสังกัดต่อไป
เพื่อตรวจคัดกรองอาการและน�าผู้ป่วย เพื่อปรึ กษาทางไกลกับแพทย์ อยากรู้จักโรคหลอดเลือดสมอง
มาที่สถานีบริการน�้ามันปตท. ผู้เชี่ยวชาญและเตรียมความพร้อม ดูรายละเอียดที่ www.sirirajstroke
๒. ขณะเดียวกันทางศูนย์ฯ จะแจ้ง ของกระบวนการรักษาในโรงพยาบาล center.org Mahidol
หน่วยรักษาอัมพาตเคลื่อนที่รพ. ศิริราช ต้นทาง
(Siriraj Mobile Stroke Unit) ซึ่งมี ๔. หากวินิจฉัยได้ว่าผู้ป่ วยเป็น
คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล เข้าร่วมการประชุมวิชาการนานาชาติ Internationalization 11๑๑
งานประชาสัมพันธ์
th
The 4 Joint Symposium on Basic and Applied Studies of Plant Natural คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Products for Agriculture and Human Health ณ ประเทศญี่ปุ่น
เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ของประเทศไทย และประเทศญี่ปุ่ น
รองศาสตราจารย์ ดร.มัลลิกา อีก ๕ แห่ง
ชมนาวัง รองคณบดีฝ่ ายวิจัยและ ทั้งนี้ การประชุมวิชาการดังกล่าว ได้จัดขึ้น
วิเทศสัมพันธ์ และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เป็นประจ�าอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยมีคณะ
ดร.กฤษณ์ ถิรพันธุ์เมธี และ อาจารย์
ดร.สมนึก บุญสุภา คณะเภสัชศาสตร์ เภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นเจ้าภาพ
มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เข้าร่วม การประชุม จัดการประชุม ครั้งแรกในปี ๒๕๕๘ จนกระทั่ง
th
วิชาการนานาชาติ “The 4 Joint ปัจจุบัน โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
Symposium by Six Universities in Japan กฤษณ์ ถิรพันธุ์เมธี คณะเภสัชศาสตร์ หัวข้อ “Phytochemical Profiling and
and Thailand” ภายใต้หัวข้อ ‘Basic and มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมบรรยายในหัวข้อ Cytotoxic Activity Screening of Annona
Applied Studies of Plant Natural Products “Immunomodulatory Effects of a Variety muricata L. Leaf and Callus Extracts”
for Agriculture and Human Health” of Mushroom Extracts” และ อาจารย์ ณ Kagoshima University ประเทศญี่ปุ่น
ซึ่งจัดโดย Kagoshima University ดร. สมนึก บุญสุภา คณะเภสัชศาสตร์ Mahidol
ประเทศญี่ปุ่น ร่วมกับ สถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ร่วมบรรยายใน
มหิดลสาร ๒๕๖๑