Page 4 - MU_7July61
P. 4

Research Excellence
            ฐิติรัตน์ เดชพรหม
                                                     SMJ









                                                     Siriraj Medical Journal


                                                     วารสารทางการแพทย์นานาชาติ
                                                     คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล
                                                     ได้รับการตอบรับเข้าฐานข้อมูล SCOPUS

                                                       มหิดลสารฉบับนี้ มาพร้อมกับข่าวดีมาแจ้งให้ผู้อ่านทุกท่านทราบ และ
                                                     ได้รู้จักกับวารสารทางการแพทย์นานาชาติ Siriraj Medical Journal
                                                     (SMJ) ที่เมื่อเร็วๆ นี้ ได้รับการตอบรับเข้าฐานข้อมูล SCOPUS ระบบ
                                                     ฐานข้อมูลนานาชาติที่นักวิจัยทั่วโลกใช้ในการศึกษาค้นคว้าเพื่อ
                                                     ประกอบการท�าวิจัย และใช้เพื่อตรวจสอบการอ้างถึงผลงานวิจัย
                                                     โดยได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์ นายแพทย์ธวัชชัย อัครวิพุธ รอง
                                                     คณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัย
                                                     มหิดล หัวหน้ากองบรรณาธิการของวารสารฯ มาให้สัมภาษณ์ดังนี้ค่ะ

                  Q: อยากให้อาจารย์กล่าวแนะน�า เดือน หรือปีละ ๖ เล่ม ใน ๑ เล่มก็ เสริมให้วารสารฯ ได้รับการตอบรับ
               วารสาร Siriraj Medical Journal ให้ จะมีบทความประมาณ ๑๐ เรื่อง  เข้าฐานข้อมูล SCOPUS คะ?
               ผู้อ่านให้ได้รู้จักกันค่ะ      และเป็นวารสารแบบ open access     A: จริงๆ แล้ว SCOPUS มีหลัก
                  A: วารสาร Siriraj Medical Journal   คือสามารถเข้าถึงบทความได้โดย  เกณฑ์ที่ค่อนข้างเข้มงวด ประกอบด้วย
   4           (SMJ) ได้ด�าเนินการตีพิมพ์มาเป็นเวลา   ผ่านเว็บไซต์ www.smj.si.mahidol.  รายละเอียดมากมาย แต่ที่อยากจะขอ
               ๗๐ ปีแล้ว โดยมีบรรณาธิการท่าน  ac.th  โดยที่ไม่จ�าเป็ นต้องเป็ น  ยกตัวอย่างสั้นๆ  ที่ส�าคัญในการ
               แรก คือ ศาสตราจารย์ นายแพทย์   สมาชิก กองบรรณาธิการเราแบ่งเป็น   พิจารณาของ SCOPUS ก็คือ วารสาร
               อวย เกตุสิงห์ แรกทีเดียวมีการตีพิมพ์  ๒ กลุ่ม โดยจะมีทั้งที่เป็นคนไทย และ  จะต้องเป็นภาษาอังกฤษที่อ่านแล้ว
               ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ต่อมา  ต่างชาติ ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่มีชื่อ  เข้าใจได้ และไม่ใช่ว่ามีบทความที่มา
               มีการพัฒนาเรื่อยๆ จนกระทั่งตีพิมพ์  เสียงในด้านต่างๆ จากทั่วโลก ทั้งใน  จากคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
               เป็นภาษาอังกฤษอย่างเดียว เพื่อที่จะ  สหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย เราเชิญ  เท่านั้น  แต่จะต้องมีบทความที่มาจาก
               ปรับปรุงให้เข้าสู่ฐานข้อมูลในระดับ  ผู้ทรงคุณวุฒิเหล่านี้มาเพื่อที่จะมาให้  ภายนอกคณะฯและต่างประเทศ
               นานาชาติ วัตถุประสงค์การจัดพิมพ์  ข้อแนะน�าให้วารสารเรา เพื่อที่เราจะได้  มากกว่าร้อยละ ๖๐ ขึ้นไป นอกจากนี้
               เพื่อเผยแพร่งานวิจัยให้เป็นที่รู้จักทั้ง  พัฒนาวารสาร SMJ ให้มีมาตรฐาน  SCOPUS จะดูในเรื่องคุณภาพของ
               ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับ  ระดับนานาชาติ ส่วนกองบรรณาธิการ  วารสารด้วย ก็คือ ต้องตีพิมพ์ตรงเวลา
               โลก เป็นการสนับสนุนการเขียนงาน  ที่เป็นคนไทย  ไม่ได้มีแต่เฉพาะใน  ออกตรงเวลา การรับ submission เพื่อ
               วิจัย ทั้งของอาจารย์เรา และของคน  ศิริราช แต่จะพยายามกระจายไปสู่  พิจารณาให้ตีพิมพ์ต้องมีระบบที่
               ไทยด้วย ส่วนกรอบเนื้อหาของวารสาร   มหาวิทยาลัยต่างๆ ในประเทศไทยด้วย   สามารถ submit ผ่านเว็บไซต์ได้ แล้วก็
               จะเปิดกว้างครอบคลุมทุกด้านทางการ  มีทั้งรามาฯ จุฬาฯ ขอนแก่น เชียงใหม่   ต้องมีการประเมินแบบ  “double
               แพทย์ ไม่ว่าจะเป็นบทความหรืองาน  ฯลฯ ซึ่งจะเป็นการช่วยประชาสัมพันธ์  blind” ซึ่งหมายความว่า ทั้งผู้เขียน
               วิจัย ทางด้าน Biomedical science ทั้ง  วารสารฯ และเป็นการเพิ่มโอกาสให้      และผู้ประเมินบทความ ไม่ทราบว่า
               ที่เป็น Clinical หรือ Basic Research   วารสารฯ ได้มีบทความวิจัยที่หลาก  บทความนี้มาจากที่ไหน ใครเป็นผู้
               เราก็ยินดีรับพิจารณาทั้งหมด กลุ่มเป้า  หลายจากมหาวิทยาลัยอื่นๆ มาเผย  เขียนและผู้ประเมิน
               หมายในระยะแรกเรา focus เฉพาะคน  แพร่ ท�าให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้นด้วย   การที่ SCOPUS ก�าหนดให้มีสัดส่วน
               ไทย ต่อมาเราปรับให้เป็นภาษาอังกฤษ   Q: วารสาร Siriraj Medical Jour-  บทความจากต่างชาติถึงร้อยละ ๖๐ ขึ้น
               เพื่อที่จะขยายฐานเป้าหมายออกไปสู่ nal เป็นวารสารทางการแพทย์ที่ได้  ไป ไม่ได้ท�าให้คนไทยมีโอกาสเสนอ
               อาเซียน และสังคมโลก เป็นระดับ รับการตอบรับเข้าฐานข้อมูล SCO-  บทความน้อยลง เนื่องจากเราพยายาม
               นานาชาติให้มากขึ้น ปัจจุบันวารสาร  PUS โดยผ่านเกณฑ์การประเมิน  encourage ให้งานวิจัยหรือบทความ
               SMJ  ออกตีพิมพ์เผยแพร่ราย  ๒  อะไรบ้าง และอะไรเป็นปัจจัยที่ส่ง  ของคนไทยมีความร่วมมือกับชาวต่าง




         July 2018                                                M • Master A • Altruism H • Harmony I • Integrity D • Determination O • Originality L • Leadership
   1   2   3   4   5   6   7   8   9