Page 23 - MU_5May60
P. 23
Special Scoop }
งานสื่อสารองค์กร คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
แถลงข่าว รามาธิบดีกับความส�าเร็จ:
“หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดสมองแห่งแรกในเอเชีย”
เมื่อวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ศ.นพ.ปิยะมิตร
ศรีธรา คณบดีคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล
รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นประธานแถลง
ข่าว “รามาธิบดีกับความส�าเร็จ: หุ่นยนต์ช่วย
ผ่าตัดสมองแห่งแรกในเอเชีย” ณ ห้องประชุม
ท่านผู้หญิงวิระยา ชวกุล ชั้น ๕ ศูนย์การแพทย์
สิริกิติ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล
ร่วมแถลงข่าวโดย พระพรหมเวที เจ้า
คณะภาค ๑๕ เจ้าอาวาสวัดพระปฐม
เจดีย์ราชวรมหาวิหาร รศ.นพ.สุรศักดิ์
ลีลาอุดมลิปิ ผู้อ�านวยการโรงพยาบาล
รามาธิบดี ศ.นพ.วชิร คชการ หัวหน้า
ภาควิชาศัลยศาสตร์ รศ.นพ.เอก มะเร็งสมอง ด้วยนวัตกรรมเต็ม ท�าการลงทะเบียนสมองของผู้ป่วยจาก
หังสสูต หัวหน้าสาขาประสาท ประสิทธิภาพในเทคโนโลยีขั้นสูง ท�าให้ เครื่อง CT ในห้องผ่าตัดกับภาพ MRI
ศัลยศาสตร์ ผศ.นท.นพ.สรยุทธ ช�านาญ การผ่าตัดสมองในผู้ป่วยมีความ สมองของผู้ป่วย
เวช สาขาประสาทศัลยศาสตร์ และ ปลอดภัยสูง ลดอัตราเสี่ยง รวมทั้งลด ๓. การท�า Registration ระหว่าง CT
ตัวแทนบริษัท MAZOR ROBOTICS ภาวะแทรกซ้อนของการผ่าตัดลงได้ สมองของผู้ป่วยแล้วกับภาพถ่าย MRI
ศ.นพ.ปิยะมิตร ศรีธรา คณบดี มาก อีกทั้งยังมีความแม่นย�าในการ ของสมอง
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาล ผ่าตัดสูงสุดอีกด้วย ซึ่งถือเป็นความ ๔.หลังจากที่ประสาทศัลยแพทย์
รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าว ส�าเร็จครั้งแรกของประเทศไทยและของ ก�าหนดทิศทางเป้าหมายการผ่าตัดและ
ถึงความส�าเร็จในครั้งนี้ว่า คณะ เอเชียที่สามารถท�าได้ส�าเร็จ และนับ ลงทะเบียนผู้ป่วยเรียบร้อยแล้วก็จะเข้า
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี เป็นความส�าเร็จครั้งส�าคัญของคณะ สู่ขั้นตอนการผ่าตัดโดยหุ่นยนต์จะขยับ
มหาวิทยาลัยมหิดล มุ่งเน้นการให้การ แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี แขนของหุ่นยนต์ไปยังเป้าหมายที่
รักษาพยาบาลแก่ผู้ป่วยที่มาเข้ารับการ และของคนไทยที่มีวิธีการในการรักษา ประสาทศัลยแพทย์วางแผนไว้จากนั้น
บริการ การรักษาพยาบาลหนึ่งที่ใช้กัน อย่างเต็มประสิทธิภาพ ประสาทศัลยแพทย์ท�าการผ่าตัดตาม
ในปัจจุบันคือ การผ่าตัดรักษา ซึ่งคณะ
วิธีการผ่าตัด ข้อดี และข้อจ�ากัดใน ขั้นตอนอย่างปลอดภัย
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี การรักษาด้วยวิธีนี้ มี ๔ ขั้นตอน คือ
มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ให้การรักษา ในขณะนี้ หุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดสมอง
ด้วยวิธีการผ่าตัดมาโดยตลอด และได้ ๑. ท�าการวางแผนเข้าสู่เป้าหมาย นับว่าให้ความปลอดภัยได้สูงในผู้ป่วย
น�าเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการผ่าตัด โดยอาศัยภาพ MRI ของสมองผู้ป่วย ที่ต้องได้รับการผ่าตัดสมองอันเนื่องมา
อย่างต่อเนื่อง โดยการแถลงข่าวในครั้ง ประสาทศัลยแพทย์สามารถก�าหนด จากการมีเนื้องอกในสมองโรคลมชักใน
นี้ถือเป็นความส�าเร็จของวงการแพทย์ ทางเข้าและเป้าหมายปลายทางได้ สมองหรือภาวะพาร์กินสันที่กินยาแล้ว
ไทยและเอเชีย ที่ทีมแพทย์จากภาควิชา อย่างง่ายดาย เพื่อลดอันตรายที่อาจ ไม่ดีขึ้น ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นได้
ศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรง เกิดต่อหลอดเลือด หรืออวัยวะส�าคัญๆ อาจจะน้อยกว่า ๑ มม. ซึ่งนับว่ายังไม่มี
พยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัย ในสมอง อุปกรณ์ใดมาทดแทนความแม่นย�าช่วย
มหิดล ได้น�าเทคโนโลยีหุ่นยนต์ช่วย ๒.ประสาทศัลยแพทย์ติดตั้ง การผ่าตัดของหุ่นยนต์นี้ได้ mahidol
ผ่าตัดมาใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรค อุปกรณ์อ้างอิงบนศีรษะของผู้ป่วย เพื่อ
23
ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐