Page 25 - MU_1Jan60
P. 25

{ สมุนไพรน่ารู้ รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ. วีณา จิรัจฉริยากูล
              ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
          เบต้ากลูแคนจาก                            เห็ดแครง





            เห็ดแครงหรือเห็ดตีนตุ๊กแก  (ดังแสดงในรูปหน่วยย่อย) หน่วย
          มีชื่อวิทยาศาสตร์ Schizophyl- ย่อยนี้จะซ�้ากันนับพันครั้ง ท�าให้
          lum commune นิยมน�ามารับ ชิโซฟิลแลนเป็น กลูแคนหรือ
          ประทานในรูปของแกงกะทิ หรือ  เบต้ากลูแคนที่มีโมเลกุลใหญ่
          ลาบ นอกจากสารอาหารในเห็ด (macromolecule) มีน�้าหนัก
          แครง เช่น โปรตีน วิตามิน แร่ธาตุ  โมเลกุล ๔๕๐,๐๐๐ ดาลตัน
          เห็ดแครงยังมีสารที่มีฤทธิ์ทาง  ชิโซฟิลแลนเป็นยาร่วมใน
          ชีวภาพที่ยับยั้งการอักเสบและมี  การรักษาโรคมะเร็ง (adjuvant
          ผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน สารที่  therapy) คล้ายคลึงกับเลน
          แสดงฤทธิ์ทางชีวภาพในเห็ด  ติแนน (lentinan) ซึ่งเป็นเบต้า
          ส่วนใหญ่ประกอบด้วยสาร ๒   กลูแคนที่แยกได้จากเห็ดชิตาเกะ  แครง มีฤทธิ์ต้านอักเสบ โดย น�้าตาล ความต้านทานต่อโรค
          กลุ่ม คือ กลุ่มโพลีแซคคาไรด์   (shitake, Lentinus edodes)        ยับยั้งที่เมแทบอลิซึมของโปรส ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
          หรือกลัยแคน หรือเส้นใยอาหาร   ชิโซฟิลแลน  ใช้รักษามะเร็งปอด ตาแกลนดิน (prostaglandin  ส่วนบน เบต้ากลูแคนสามารถ
          (dietary fiber) และกลุ่มไอโซพรี  ที่รักษาด้วยการผ่าตัดไม่ได้  E2) สารสกัดน�้าและสารสกัดเอ เป็นตัวพายานาโน ก่อเจลและ
          นอยด์ สารโพลีแซคคาไรด์ใน     มะเร็งมดลูก และมะเร็งกระเพาะ ทานอล มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน     กระตุ้นการสะสมคอลลาเจนซึ่ง
          เห็ดแครง มีชื่อว่าชิโซฟิลแลน   อาหาร โดยพัฒนาเป็นยาฉีดเข้า โดยยับยั้งการหลั่งไซโตไคน์ (cy- ช่วยสมานแผลและยังมีคุณสมบัติ
          (schizophyllan) ซึ่งได้รับการ  กล้าม (i.m.) ใต้ผิวหนัง (s.c.) ใต้ tokine) ชนิด TNF-? และ IL-6  ต้านอนุมูลอิสระ คุณสมบัติที่
          พัฒนาเป็นยาต้านมะเร็ง โครงสร้าง  ผิวหนังหน้าท้อง (i.p.) และเข้า ตามล�าดับ       เป็นประโยชน์ดังกล่าว ท�าให้
          เคมีของชิโซฟิลแลน ประกอบ  เส้นเลือดด�า (i.v.) ขนาดที่ใช้ ๒๐   นอกจากคุณสมบัติต้าน  เบต้ากลูแคนมีศักยภาพในการ
          ด้วยหน่วยย่อยซึ่งเป็นน�้าตาล  มก. ๒ ครั้ง ต่อสัปดาห์ หรือ ๔๐   มะเร็งของเบต้ากลูแคนที่  พัฒนาเป็นอาหารเสริม ยาจาก
          กลูโคส ๒ – ๘ หน่วย เชื่อมต่อกัน  มก. ๑ ครั้งต่อสัปดาห์   เกี่ยวข้องกับการกระตุ้นเซลล์ใน  ธรรมชาติ และเครื่องส�าอาง  mahidol
          แบบ β(1-->3) และมีแขนงแยก    งานวิจัยเห็ดแครงใน ระบบภูมิคุ้มกัน เบต้ากลูแคน
          ที่กลูโคสตัวที่ ๕ ซึ่งเชื่อมต่อกัน  ประเทศไทย พบว่า สารสกัดน�้า ยังปรับสภาพอื่นๆ ของร่างกาย
          แบบ β(1-->6) หรือ β(1-->3)   และสารสกัดเอทานอลของเห็ด เช่น ระดับคอเลสเตอรอล ระดับ           Softnews }

                                                                                                                    งานสื่อสารองค์กร
            สภาคณาจารย์มหาวิทยาลัย
          มหิดล ประกาศเชิดชูเกียรติ
          อาจารย์ผู้มีความสามารถในเชิง
          วิชาการ มีจริยธรรม และอุทิศ
          ตนในด้านต่างๆ เพื่อเข้ารับ
          รางวัลอาจารย์ตัวอย่างของ          ศ.พญ.กุลกัญญา    ผศ.ดร. เทียนทอง  รศ.ทพญ.ประภาศรี              ศ.พญ.อ�าไพวรรณ
          มหาวิทยาลัยมหิดล ประจ�าปี    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.           ศาสตร์  และศาสตราจารย์  ราชทานนามมหาวิทยาลัย
          ๒๕๕๙ จ�านวน  ๔  ท่าน ได้แก่   เทียนทอง  ทองพันชั่ง  คณะ แพทย์หญิงอ�าไพวรรณ จวน มหิดล” ๒ มีนาคม ๒๕๖๐ ณ
          ศาสตราจารย์  แพทย์หญิง           วิทยาศาสตร์ รองศาสตราจารย์  สัมฤทธิ์ คณะแพทยศาสตร์โรง มหาวิทยาลัยมหิดล  ศาลายา
          กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ คณะ  ทันตแพทย์หญิงประภาศรี             พยาบาลรามาธิบดี ซึ่งจะเข้า
          แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล      ริรัตนพงษ์คณะทันตแพทย  รับรางวัลในงาน “๔๘ ปี วันพระ


              คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ขอเชิญผู้สนใจที่มีอายุตั้งแต่ ๑๘ ปีขึ้นไป เข้าร่วมโครงการวิจัย เรื่อง
            “ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะปากแห้งในผู้ป่วยไทย” ซึ่งผู้เข้าร่วมโครงการต้องไม่มีประวัติได้รับการฉายแสงและให้เคมีบ�าบัดบริเวณ
            ศีรษะและคอ และต้องมีอาการอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ รู้สึกในปากแห้ง รู้สึกปากแห้งในขณะรับประทานอาหาร รู้สึกรับ
            ประทานอาหารแห้งล�าบาก รู้สึกกลืนล�าบาก รู้สึกริมฝีปากแห้ง ไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ภาควิชา
            โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา โรงพยาบาลศิริราช โทร. ๐๘-๗๗๒๑-๕๑๐๗ (แพทย์หญิงกชกานต์ ศุภชวลิต)


   24
         Volumn 01 • January 2017
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29