Page 23 - MU_4April60
P. 23

Harmony in Diversity }



                ICT ม.มหิดล จัดกิจกรรม CSR ภายใต้โครงการ ICT


                Junior Camp ครั้งที่ ๙ ณ โรงเรียนบ้านชวดบัว จ.นครนายก


                                                 เมื่อวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๖๐ คณะ และห้องน�้าของโรงเรียนบ้านชวดบัว
                                              เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักเรียนมี
                                              (ICT)  มหาวิทยาลัยมหิดลได้จัด จิตส�านึกในด้านการอุทิศตน เสียสละ
                                              กิจกรรมเพื่อสังคม (CSR: Corporate  มุ่งผลเพื่อผู้อื่น และท�าประโยชน์ต่อ
                                              social responsibility) ณ โรงเรียนบ้าน สังคมส่วนรวม (Altruism) และสร้าง
                                              ชวดบัว ต.ดอนยอ อ.เมือง จ.นครนายก  ความผูกพัน ระหว่างคณะ ICT กับ
                                              ภายใต้โครงการ ICT JUNIOR CAMP  โรงเรียน พร้อมกันนี้ คณะ ICT ได้มอบ
                                              ครั้งที่ ๙ ประจ�าปี ๒๕๖๐ ภายใต้ คอมพิวเตอร์จ�านวน ๑๐ เครื่อง และ
                                              กรอบแนวคิด Thailand 4.0: Digital  อุปกรณ์กีฬา และมอบเครื่องเขียนจาก
                                              Transformation โดยมี ดร.ปวิตรา         บริษัท เซอร์ทิส จ�ากัด ให้แก่โรงเรียน
                                              จิรวีรกูล รองคณบดีฝ่ายสื่อสารองค์กร บ้านชวดบัวซึ่งมีคุณครูดวงเดือน แก้ว
                                              และสร้างความผูกพัน และ ดร.เพชร        ปุม ผู้อ�านวยการโรงเรียน ผู้น�าชุมชน
                                              สัจจชลพันธ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริหาร ท้องถิ่นและเด็กๆ นักเรียนโรงเรียน
                                              น�าทีมบุคลากรของคณะฯ พี่เลี้ยงค่าย บ้านชวดบัว ให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น
                                              และนักเรียนค่ายฯ เข้าร่วมท�ากิจกรรม   mahidol

                                              CSR โดยการปรับปรุงทาสีอาคารเรียน  ศุภลักษณ์ ตันเกษมขจรศรี

                ม.มหิดล จัดอบรมให้ความรู้และแนวทางการพัฒนา




                ผลิตภัณฑ์ชุมชน วราภรณ์ น่วมอ่อน
                  เมื่อวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๐ ผู้ช่วย
                ศาสตราจารย์ ดร.สุรพงษ์ เลิศสิทธิ
                ชัย ผู้อ�านวยการโครงการจัดตั้งศูนย์
                เศรษฐกิจสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัย
                มหิดล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.
                อภิลักษณ์  เกษมผลกูล  กรรมการ
                บริหารโครงจัดตั้งศูนย์เศรษฐกิจ
                สร้างสรรค์ กล่าวเปิดการอบรมให้
                ความรู้และแนวทางการพัฒนา
                ผลิตภัณฑ์ของชุมชน ณ ห้องประชุม
                ๕๓๐  ชั้น  ๕  ส�านักงานอธิการบดี
                มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา จากนั้น
                นายพีรวงศ์ จาตุรงคกุล ผู้เชี่ยวชาญ
                ด้านกลยุทธ์การตลาดและการสร้าง
                แบรนด์ และคณะกรรมการบริหาร
                โครงการจัดตั้งศูนย์เศรษฐกิจ      โครงการจัดตั้งศูนย์เศรษฐกิจ โดดเด่น สวยงาม มีเอกลักษณ์เฉพาะ
                สร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล อบรม สร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยมหิดล จัดตั้ง ตัว เป็นการสร้างคุณค่าและมูลค่า
                ให้ความรู้แนวทางการพัฒนา ขึ้นเพื่อช่วยเหลือชุมชนในบริเวณใกล้ เพิ่มให้แก่สินค้า ให้มีความน่าสนใจ
                ผลิตภัณฑ์ของชุมชน ภายหลังจากการ เคียงมหาวิทยาลัย ให้สามารถพัฒนา สามารถดึงดูดลูกค้า ให้นักท่องเที่ยว
                อบรม ผู้เข้ารับการอบรม ได้เดินทางไป ผลิตภัณฑ์ของท้องถิ่น ที่เป็นมรดกทาง เข้ามาอุดหนุน ซึ่งเป็นการเสริมสร้าง
                ศึกษาดูงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ ณ ตลาด วัฒนธรรมและภูมิปัญญามาพัฒนา ศักยภาพให้แก่ผู้ประกอบการในชุมชน
                สามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี      เป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบใหม่ที่มีความ ได้อย่างยั่งยืน   mahidol


                                                                                                                  23
                                                                                            ปีที่ ๔๒ • มหิดลสาร ๒๕๖๐
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28